ผลการปฏิบัติธรรมสามเณรเตรียมบวชอุทิศชีวิต สามเณรประจักร บุญฤทธิ์
สามเณร ประจักร บุญฤทธิ์ เปรียญธรรม 5 ประโยค เป็นคนจังหวัดสุรินทร์บวชสร้างบารมีกับหลวงพ่อและหมู่คณะ ปีนี้เข้าปีที่ 7 แล้วครับ
ตัวอย่างละครฟื้นฟูศีลธรรมโลก “แชมป์ชีวิต”
ต่อยมวยเพื่อใช้หนี้ให้แม่...เตรียมตัวรับชมกันได้เร็วๆนี้ ทาง www.dmc.tv
พิธีตักบาตรฉลองพระใหม่ โครงการธรรมทายาทอุปสมบทหมู่ระดับอุดมศึกษา รุ่นที่ 50 (ภาคฤดูฝน)
คณะผู้ปกครองและพุทธศาสนิกชน ได้ร่วมพิธีตักบาตรฉลองพระใหม่ ในโครงการธรรมทายาทอุปสมบทหมู่ระดับอุดมศึกษา รุ่นที่ 50 (ภาคฤดูฝน)
พศ.ใช้เทคโนฯพัฒนางานพุทธศาสนา ยกเครื่องฐานจัดเก็บข้อมูลพระสงฆ์-วัดทั่วประเทศ
เดินตามทางของบัณฑิต ตอนที่ ( ๗ )
พระคุณเจ้าจงบริโภคภัตอันวิเศษนี้เถิด เพราะสุธาโภชน์ที่บริโภคแล้วนั้น ย่อมขจัดบาปธรรมได้ถึง ๑๒ ประการ คือ ความหิว ความกระหาย ความกระสัน ความกระวนกระวาย ความเหน็ดเหนื่อย ความโกรธ ความเข้าไปผูกโกรธ ความวิวาท ความส่อเสียด ความหนาว ความร้อน และความเกียจคร้าน ภัตนี้มีรสอันเลิศ เป็นสิ่งสมควรแก่ท่านผู้มีคุณธรรมสูงส่ง
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - สร้างผังรวยข้ามชาติ
วันหนึ่ง เธอได้เห็นพระปัจเจกพุทธเจ้าเดินบิณฑบาตผ่านหน้าบ้าน บังเกิดความเลื่อมใส จึงรีบนำอาหารหวานคาวมาใส่บาตร ถวายดอกปทุมกำหนึ่ง พลางตั้งความปรารถนาว่า "ไม่ว่าจะเกิดไปกี่ภพกี่ชาติก็ตาม ขอให้เป็นที่รักของมหาชนเหมือนดอกปทุมนี้" ทั้งยังอธิษฐานเพิ่มเติมอีกว่า "การอยู่ในครรภ์มารดาเป็นสิ่งลำบาก ขอให้ได้เกิดในดอกปทุม ไม่ต้องไปอาศัยอยู่ในครรภ์มารดาอีก"
มงคลที่ ๗ เป็นพหูสูต - พระปัญญาบริสุทธิ์
ผู้ที่ได้ชื่อว่าเป็นบัณฑิต ผู้รู้ ผู้มีปัญญา ต้องดำรงตนเป็นทูตสันติภาพได้ด้วย นอกจากจะมีปฏิภาณที่ยอดเยี่ยมแล้ว ต้องไม่มีอคติความลำเอียง และต้องรู้จักแสวงจุดร่วมสมานจุดต่าง คอยประสานรอยร้าวเหมือนเป็นกาวใจ
เนมิราชชาดกบําเพ็ญอธิษฐานบารมี(9)
ชนเหล่าใด เมื่อของมีน้อยก็แบ่งให้ เหมือนพวกเดินทางไกล ย่อมแบ่งของให้แก่พวกที่เดินทางร่วมกัน ชนเหล่านั้น เมื่อชนอื่นตายแล้ว ก็ชื่อว่าย่อมไม่ตาย ธรรมนี้เป็นของบัณฑิตแต่ปางก่อน ชนพวกหนึ่งเมื่อของมีน้อยก็แบ่งให้ ชนพวกหนึ่งมีของมากก็ไม่ให้ ทักษิณาที่ให้แต่ของน้อย นับเสมอด้วยพัน
ภาษากาย
เรียนรู้วิธีการสื่อสารท่าทาง กิริยาที่แสดงออกมา เรื่องใกล้ตัวที่ไม่เคยรู้มีวิธีสังเกตยังไงบ้าง
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 109
มโหสถบัณฑิตก็ยังมิได้นิ่งนอนใจ ดำริอยู่ในใจว่า “ฐานะ ของเราในยามนี้เท่ากับเป็นผู้พิทักษ์พระเศวตฉัตรของพระราชา ฉะนั้นเราจะมัวเมาประมาทอยู่มิได้เลย ควรจะเร่งทำนุบำรุงแว่นแคว้นให้มั่นคงเป็นปึกแผ่น เพื่อให้วิเทหรัฐทวีความยิ่งใหญ่เกรียงไกรอย่างที่ไม่มีแว่นแคว้นใดเสมอ เหมือน”